ขั้นตอนการแปลเอกสาร

กฎกระทรวง การได้รับผลประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานเนื่องจากมีเหตุสุดวิสัยอันเกิดจากการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ พ.ศ.๒๕๖๓

เริ่มแปลจากชื่อกฎกระทรวง เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจอันดี จึงมีการเสริมข้อมูลบทเข้าไปในคำแปลคือ  労働省+省令→労働省令

เนื่องจากชื่อกระทรวงมีการอ้างอิงจากกฎหมายฉบับอื่นคือ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ COMMUNICABLE DISEASES ACT 伝染病法 จึงได้มีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพรบ. ดังกล่าว พบแหล่งข้อมูลที่สอดคล้องมากที่สุดดังนี้คือ

タイにおける新型コロナウイルスへの対応(第 2 報)

https://www.irric.co.jp/pdf/risk_info/thailand/2020_02.pdf

ในข้อ 3. 「危険伝染病」の指定 มีสำนวนที่สามารถนำมาใช้เป็นคำแปลได้

伝染病法における危険伝染病

โรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ

ถัดไปมาดูคำว่า “เหตุสุดวิสัย” ที่อาจจะไม่ค่อยคุ้นกันสักเท่าไหร่กันครับ

👇

act of god

👇

不可抗力【ふかこうりょく】

เพื่อให้มั่นใจว่าคำแปลถูกต้อง เราลองมาเทียบเคียงความหมายกันดูครับ

เหตุใดๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะให้ผลพิบัติก็ดี เป็นเหตุที่ไม่อาจป้องกันได้ แม้ทั้งบุคคลผู้ต้องประสบหรือใกล้จะต้องประสบเหตุนั้นจะได้จัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายได้จากบุคคลในฐานะและภาวะเช่นนั้น

法律用語で、必要と認められる注意や予防などの十分な対策を構じても、なお損害を防ぐことができなかったこと。

พบการเชื่อมโยงของคีย์เวิร์ดในความหมายดังนี้ จึงทำให้มั่นใจได้ว่าคำต้นฉบับและคำแปลมีความยึดโยงต่อกัน

ระมัดระวัง 注意

ป้องกัน 予防

ไม่อาจป้องกันได้ 防ぐことができなかった

คำสุดท้ายในชื่อกฎกระทรวงที่ต้องแปลคือ “ประโยชน์ทดแทน” ของประกันสังคมซึ่งมีหลายกรณีได้แก่

ประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตร 出産手当

ประโยชน์ทดแทนกรณีเสียชีวิต 死亡手当

ประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพ 心身障害手当

ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร 子供手当

ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน 失業手当

ประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ 老齢年金

タイ社会保険の仕組み

https://zero-asia.biz/personnel/labour_09.html

จึงทำให้ได้คำแปลของชื่อกฎหมายออกมาดังนี้

伝染病法における危険伝染病拡大で発生する不可抗力による失業手当支給についての労働省令

抵当【ていとう】การจำนอง

意味:借金の際、金が返せなくなったら貸手が自由に処分してよいと約束する、借手側の品物。担保。かた。

แห่จำนองเครื่องจักรหมื่นล้าน กรอ.เตรียมรับมือเอกชนกระอักพิษโควิด

 

抵当と、担保の違いって何ですか?

抵当は金銭を借りる際に相手にお金が返せなかったら、抵当に入れたものを引き渡しますという契約。จำนอง

質権に似るが質権は物を質屋に預けてしまうが、抵当権は権利の登記だけで、抵当権のつけられた物(一般には土地、建物などの不動産)の利用はできる。จำนำ

担保は、お金が用意できたら全額払いますので、今はその一部を納めますという契約。担保は、買主側からは、それをを放棄すれば契約を解除できるが、売主側から解除するには担保の倍額を支払う必要がある。ค้ำประกัน

 

ค่าจดทะเบียนการจํานองเครื่องจักร

พระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ. 2514

械の 抵当または買戻しの登記

機械登記法

 

คำศัพท์ที่เป็นบริบทแวดล้อม

เครื่องจักร 機械(クルアンチャック)

สิ่งที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลายชิ้นสําหรับใช้ก่อกําเนิดพลังงานเปลี่ยนหรือแปลงสภาพพลังงาน หรือ ส่งพลังงาน ทั้งนี้ด้วยกําลังน้ํา ไอน้ํา เชื้อเพลิง ลม ก๊าซ ไฟฟ้าหรือพลังงานอื่นอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน และหมายความรวมถึงอุปกรณ์ไฟลวีล ปุลเล สายพาน เพลา เกียร์ หรือหรือสิ่งอื่นที่ทํางานสนองกัน
水力、水蒸気、燃料、風力、ガス、電気、あるいは一種のエネルギー、または複数のエネルギーによるエネルギー変化もしくはエネルギー変換、エネルギー伝達を生成する ために使用する複数の部品から構成される物に加え、はずみ車、滑車、ベルト、シャフト設備、または その他の相互作用物

เจ้าของ 所有者(チャオコーン)

ผู้ถือกรรมสิทธิ์
所有権の保持者

จดทะเบียนเครื่องจักร 機械登記(ジョッタビヤン・クルアンチャック)

การจดทะเบียนกรรมสิทธิ์เครื่องจักรและหรือการจดทะเบียนนิติ กรรมอื่นเกี่ยวกับเครื่องจักรในภายหลัง
機械所有権登記、および、または事後の機械に 係る他の法律行為の登記

โควิด 19 จบแบบ 終息 กับแบบ 収束

ก่อนหน้านี้เคยใช้คำว่า 終息 กับสถานการณ์เรื่องโควิด 19 แต่พักหลังๆ เห็นสื่อญี่ปุ่นใช้คำว่า 収束 จึงเกิดความสงสัยว่า 2 คำนี้เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

「収束」と「終息」の違いと使い分けとは?宣言するのはどっち?

https://eigobu.jp/magazine/shuusoku

บทความข้างต้นระบุความหมายของ 2 คำนี้ไว้ว่า

「収束」・・・物事の混乱していた状態が、一旦落ち着くこと

「終息」・・・物事がひとまず完全に終わること

ก็อาจจะให้คำแปลในภาษาไทยแบบหลวมๆ ได้ว่า 収束 เข้าที่เข้าทาง, 終息 จบลง

แต่เพื่อให้รู้ว่าถ้าคำ 2 คำนี้อยู่ภายใต้บริบทของโควิด 19 ความหมายจะยังคงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร จึงได้สืบค้นเพิ่มเติมและพบบทความที่อธิบายภายใต้บริบทของปอดอักเสบดังนี้

新型肺炎の「終息」? 「収束」?

https://www.nhk.or.jp/bunken/summary/kotoba/term/072.html

จากบทความข้างต้นจุดแบ่งระหว่างคำทั้ง 2 คำคือ 完全制圧 หรือ อยู่ภายใต้การควบคุมอย่างสมบูรณ์แบบ ประเด็นอยู่ตรงที่ว่า 完全制圧 ภายใต้บริบทของโควิด 19 นั้นมีนิยามแค่ไหน ถ้ามียอมรับเรื่องการมีอยู่ของไวรัสแต่สามารถป้องกันการเกิดโรคได้โดยการฉีดวัคซีน นั่นหมายความว่า 終息 จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีวัคซีนและนำไปฉีดให้กับคนทั่วโลกแล้ว ในขณะที่ 収束 อาจจะหมายถึงสภาพที่ไม่มีผู้ติดเชื้อเพิ่มเติมในขณะที่สามารถรักษาผู้ป่วยให้ลดน้อยลงได้ในระดับหนึ่ง

どうも คำสะดวกใช้

เชื่อว่าเพื่อนๆ หลายคนที่ไม่ได้ใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาแม่ คงจะสับสนไม่รู้ว่าจะแปลว่าอย่างไรดีเมื่อต้องเจอกับคำบางคำหรือสำนวนบางสำนวนในภาษาญี่ปุ่น เช่น คำทักทาย หรือคำที่ใช้ในการโต้ตอบ เป็นต้น สำหรับบทความนี้เราจะลองหยิบเอาสำนวน どうも ขึ้นมาคุยกัน

訳しづらい日本語こそ、日本語ならではの良さがある

จากเนื้อหาที่เขียนไว้ในลิ้งค์ด้านบนพบว่า どうも ถูกใช้ภายใต้สถานการณ์ที่แตกต่างกันไปหลากหลายคือ

どうも หรือ ขอบคุณ หลังจากที่ได้รับแจกของ

どうも หรือ สวัสดี หลังจากที่คนในร้านกล่าวต้อนรับว่า いらっしゃいませ!

どうも หรือการกล่าวลาหลังจากที่ยกมือเล็กน้อยแล้วออกมาจากร้าน

笑う・笑顔・微笑み

ถ้าดูจากตัวอักษรของคำทั้ง 3 คำจะเห็นได้ว่ามีทั้งส่วนที่เหมือนกันคือใช้อักษร 笑 และส่วนที่ต่างกัน ลองมาดูกันว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ซึ่งรวมถึงความสัมพันธ์กับคำว่า ยิ้ม และ หัวเราะของไทย เนื่องจากคำเหล่านี้เป็นการแสดงออกทางอารมณ์ผ่านมาทางใบหน้าจึงจะเร่ิมจากการค้นหารูปหน้าก่อน

笑う

笑う日本人女性

どうして日本人女性って笑う時に手で口を押さえるの?

笑顔

笑顔上手な美魔女

看護師の笑顔にはパワーが宿る!!

微笑み

外国人が理解できない、日本人の微笑み

クーメルの微笑み

หัวเราะ
maxresdefault

28da56451

ยิ้ม

Sawadee

oganic-smile16

เปิดเดินรถไฟฟ้า-พล.อ.ประยุทธ์u200B-จันทร์u200Bโอชาu200B36

จากรูปข้างต้นพอจะสรุปได้ว่า 笑う กับ หัวเราะนั้นมีส่วนที่เหมือนกันได้อย่างชัดเจนเลยคือ การอ้าปากโดยที่ฟันล่างฟันบนไม่สบกัน เพื่อที่จะเปล่งเสียงออกมา

ในขณะที่ 笑顔 กับ ยิ้ม (ไม่รวมของลุงตู่นะครับ) นั้นมีส่วนที่เหมือนกันคือ การยิงฟัน ซึ่งแปลว่า แยกริมฝีปากให้เห็นฟันขบกัน อ้าวแล้วยิ้มแบบลุงก็ยิ้มเหมือนกันไม่ใช่เหรอ ใช่ครับแต่ลักษณะมันต่างกัน เรื่องนี้ต้องคุยยาวว่าด้วยเรื่องของการยิ้ม ลองมาดูการยิ้มแบบต่างๆ กันครับ

ทายนิสัยจากรอยยิ้ม

ยิ้มกว้างเปิดเผย

ยิ้มเม้มปาก

ยิ้มปุ๊บปั๊บ

ยิ้มยั่วยวน

ยิ้มมุมปาก

ยิ้มตาหยี

ยิ้มเยือกเย็น

เท่าที่ดูคำจำกัดความของยิ้มแต่ละแบบแล้ว ยอมรับเลยว่าดูยากเพราะว่าไม่รู้ว่าบริบทการยิ้มของลุงตู่เป็นอย่างไร ยิ้มด้วยอารมณ์แบบไหน โดยในส่วนของ 微笑み ก็เช่นเดียวกันไม่ว่าจะเป็นของสาวญี่ปุ่น หรือของมัคคุเทศก์ชาวกัมพูชาในรูปที่ 2 ล้วนแล้วแต่เดาได้ยากว่าเป็น “ยิ้ม” แบบไหน

微笑みと笑いの小さくて大きな違い

https://warai-public-relations.hatenablog.com/entry/2019/05/31/143026

微笑みは声を立てずにニコリと笑うことです。表情的には動きが少ないですね。

笑顔は目尻が下がり口角が上がり、場合によっては笑い声も出ます。

地区・地域・区域

「地区」と「地域」と「区域」と「街区」の違い

https://nicevideo.jp/?p=1218

จากลิ้งค์ข้างต้นทำให้เข้าใจได้ว่าทั้ง 地区 และ 地域 ล้วนเป็น 土地の区域

ในขณะที่ 区域 นั้นหมายรวมทั้ง 土地 และ 水面

เช่น 水域 เขตน่านน้ำ

map

「地域・地区」の違いとは|都市計画法のエリア分けと用途・建築制限

https://lab.iyell.jp/blog/manual/124

ในขณะที่คีย์เวิร์ดของ 地域 ในบทความข้างต้นคือ 一帯の土地 ซึ่งอาจจะแปลได้ว่า แผ่นดิน, ท้องที่ โดยมิได้มีเส้นแบ่งหรือเขตแดนอย่างชัดเจน

ส่วนกรณีของ 地区 นั้นมีเส้นแบ่งอย่างชัดเจน ยกตัวอย่าง เช่น คือ 

例:地区ごとに委員を選ぶ เลือกกรรมการของแต่ละเขตพื้นที่

行政上、ある目的のために特に指定された地域。

แต่บางครั้ง 区域 ก็ถูกใช้กับพื้นที่ที่แคบลงกว่า 地区 เช่น

例:立入禁止区域 พื้นที่ห้ามเข้า

4275150_0

ヘパフィルター HEPA Filter

High-efficiency Particulate Air Filter

JIS規格で『定格風量で粒径が0.3μmの粒子に対して99.97%以上の粒子捕集率を有しており、かつ初期圧力損失が245Pa以下の性能を持つエアフィルター』と規定されております。

高度な清浄空間が要求されるクリーンルームやクリーンブース用の精密空調機器、製造装置の組込み用のファンユニットにも用いられ、クリーン度クラス100〜10,000までに対応が可能です。

http://www.ace-cl.jp/product/filter-hepa

空気清浄が求められる分野で使用される高性能フィルターで、素材は直径110μm以下のガラス繊維のろ紙でできている。

unnamed

水際対策【みずぎわたいさく】

protection measures at ports and airports (against smuggling、disease、etc.)

伝染病や有害生物などの上陸を阻止するために、空港や港などで行われる、検疫や検査などの対策を意味する語。非軍事的な意味での「水際作戦」とほぼ同じ意味で用いられる。

มาตรการกักกัน ในบริบทของ ด่านกักกันพืชและสัตว์ เป็นต้น

【例文】水際対策の抜本的強化について(新型コロナウイルス感染症)

水際【みずぎわ】

1 水面が陸地と接している所。みぎわ。

2 上陸する直前。「感染症の侵入を水際で防ぐ」

「水際」の意味と使い方!「水際対策」とは? 【類語・例文】

https://goiryoku.com/mizugiwa/

unnamed

เศรษฐกิจหลังโควิด 19

โลกจะเปลี่ยนไปอย่างไร หลังวิกฤตโควิด-19 จบลง?

https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_30Mar2020.aspx

1. การทวนกระแสโลกาภิวัตน์ (deglobalization)

การพึ่งพิงระบบการผลิตภายในประเทศ

การเปลี่ยนแปลงของห่วงโซ่อุปทานโลก

นโยบายเศรษฐกิจที่อาศัยการบริโภคและการลงทุนในประเทศ

2. ปัญหาเชิงโครงสร้างโดยเฉพาะด้านสาธารณสุข

ระบบรัฐสวัสดิการที่มีบทบาทเพิ่มขึ้น

3. สังคมจะก้าวเข้าสู่ระบบดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ

เทคโนโลยี หรือแพลตฟอร์มในด้านต่างๆ เช่น การสื่อสาร การเงิน การศึกษา การค้าปลีก

ไวรัสโคโรนา : ธนาคารโลกคาดพิษโควิด-19 อาจฉุดเศรษฐกิจไทยตกต่ำมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชีย-แปซิฟิก

https://www.bbc.com/thai/international-52101949

เศรษฐกิจตกต่ำในภูมิภาคอาเซียน

  1. ไทย
  2. มาเลเซีย
  3. อินโดนีเซีย

ตัวอย่างอุตสาหกรรมที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบอย่างหนัก ได้แก่ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในประเทศไทยและกลุ่มหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และกลุ่มภาคการผลิตในเวียดนามและกัมพูชา

สภาพการณ์เช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อกลุ่มห่วงโซ่อุปทาน สำคัญของไทย อย่างกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และยานยนต์ ซึ่งเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่สำคัญต่อภาคการส่งออกของไทยอีกด้วย

“หลังโควิด-19….โลกจะเปลี่ยนแปลงไปทางไหน?” โดย ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. สุรเกียรติ์ เสถียรไทย

https://www.matichon.co.th/article/news_2123365

รัฐบาลต่างๆคงหนีไม่พ้นการปรับตัวเข้าสู่รัฐบาลที่มีการทำงานที่กระชับขึ้น ลดขั้นตอนการทำงานที่ล่าช้า และมีความโปร่งใส (Lean and Clean) มีธรรมะของการเป็นรัฐบาลมากขึ้น สร้างองค์ความรู้ให้ระบบราชการ(Learning Organization)ให้เป็นผู้นำการปรับตัวในโลกที่เปลี่ยนไปและสังคมในทุกประเทศคงจะเรียกร้องให้มีกระบวนการจัดงบประมาณให้ตรงตาม

๐ ความมั่นคงทางอาหาร (Food Security)

๐ ความมั่นคงทางพลังงาน (Energy Security)

๐ ความมั่นคงด้านสาธารณสุข (Health Security)

(It is not the strongest of the species that survives, nor the most intelligent that survives. It is the one that is the most adaptable to change)